วันอาทิตย์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2562

ตารางข้อดีและข้อเสียของสื่อ


ตารางที่ 16 ข้อดีและข้อเสียของสื่อบางอย่าง
สื่อ
ข้อดี
ข้อเสีย
โสตวัสดุ
1. เทป
·       จูงใจ
·       ใช้กับกลุ่มใหญ่ได้
·       ใช้ได้ทั้งที่บ้าน ที่ทำงานและในชั้นเรียน
·       สามารถก็อปปี้ได้
·       ง่ายในการเก็บรักษา
·       ก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย
·       ไม่มีการให้ผลป้อนกลับในการเรียนการสอน
·       ใช้เวลาในการกรอเทปกลับ
·       สามารถถูกทำลาย ฉีกขาดเสียหายได้
·       หน่วยที่กรอเทปกลับอาจจะไม่ว่าง
2. คำแนะนำของผู้ฝึก
·       เผชิญหน้ากัน
·       ให้ผลป้อนกลับที่ดีกว่า
·       ไม่เห็นหน้ากัน
·       ต้องการทรัพยากรเพิ่มมากขึ้น
3. โทรทัศน์
·       ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง
·       เป็นระบบไปรษณีย์ที่สั้นๆ
·       สิ้นเปลือง
·       เครื่องมือพัง
ทัศนวัสดุ
1. ภาพพลิก (Flip Charts)
·       ราคาถูก
·       เก็บสารสนเทศได้
·       เคลื่อนย้ายได้
·       เปลี่ยนสารสนเทศได้ เช่น การพิมพ์
·       นำเสนอบทเรียนได้
·       ไม่จำกัดว่าใช้กับคนคนเดียว
·       ครูจำเป็นต้องนำเสนอด้วยการเขียนที่สวยงาม
·       จำกัดขนาด
·       สารสนเทศมากเกินไป
·       กินเวลามาก
·       ยากที่จะแสดงทัศนะ

2. สิ่งที่ครูแจก
·       ราคาถูก
·       เป็นการอ้างอิงที่ถาวร
·       ช่วยในการทบทวน จดจำ
·       ช่วยนักเรียนที่ไม่ได้เข้าชั้นเรียน
·       ให้การอ้างอิงที่ค้นคว้าได้ในห้องสมุด
·       นำไปสู่พัฒนาการก้าวต่อไปของนักเรียน
·       เป็นข้อแนะนำในการศึกษา
·       ทำให้นักเรียนมีส่วนร่วม
·       ใช้ได้กับนักเรียนทุกคน เช่น ภาษาระยะทางและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
·       สามารถสรุปให้เห็นภาพทั้งหมดได้
·       ราคาอาจแพง
·       กราฟฟิก (สองมิติ)
·       นักเรียนอาจไม่ได้รับการบังคับให้อ่าน
·       ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบเฉื่อยชา
·       สารสนเทศล้าสมัย
3. กระดาษคำพื้นฐาน กระดาษขาวตายตัว
·       ให้สารสนเทศที่ลอกได้
·       เห็นได้
·       ราคาถูก
·       ให้สีหลากหลายได้
·       ยอมให้กลุ่มมีส่วนร่วมได้
·       ขั้นตอนมีเหตุมีผล
·       สามารถเปลี่ยนแปลงได้
·       จำกัดขนาดของปากกา
·       ชอล์กทำให้เลอะเถอะ
·       ใช้เวลามากในการเขียน
·       บางคนเขียนไม่สวย
·       สองมิติ
·       สารสนเทศไม่สัมพันธ์กัน
·       สารสนเทศขาดตอนได้โดยไม่ได้ตั้งใจ
4. กระดาษขาวและกระดานดำที่ตายตัว
·       ให้ข้อมูลที่กว้างขวง
·       ยอมให้เก็บข้อมูลเชิงตรรกะได้
·       ยอมให้มีเก็บสารสนเทศที่มีเหตุผล
·       ยอมให้เขียนสารสนเทศไว้ก่อนได้
·       ซ่อนและโยงความสัมพันธ์ของสารสนเทศได้
·       ผู้สอน/นักเรียนช่วยกันให้ความคิดสารสนเทศได้
·       ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้
5. กระดานดำที่ใช้แม่เหล็ก Magnetic or Felt Board
·       เคลื่อนย้ายแบบจำลองได้
·       สร้างสารสนเทศใหม่ได้
·       ไม่ใช่ของจริง
·       จำกัดกลุ่มผู้มีส่วนร่วม
6. การผสมผสานกระดานตายตัวต่างๆ (Fixed Board to the above)
·       เหมือนข้อ 5
·       ต้องการผู้สอนที่มีทักษะ
·       จัดการจัดห้องเรียน
·       นักเรียนสามารถมองได้เพียงด้านเดียว
7. การสาธิต (Demonstration)
·       ประหยัดเวลาและการพูด
·       ง่ายในการเฝ้าดูมากกว่าการฟัง
·       เห็นของจริง
·       มาตรฐานการสาธิต
·       ต้องการผู้สอนที่มีทักษะ
·       นักเรียนไม่มีส่วนร่วม
·       นักเรียนอาจไม่รู้ว่าต้องสังเกตอะไร
·       นักเรียนอาจมีความเข้าใจช้าหรือไม่เข้าใจเลย
8. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
·       เสริมแรงบ่อยครั้ง
·       ทำให้เกิดการเรียนรู้แบบว่องไว
·       นักเรียนประสบความสำเร็จ
·       มีปฏิสัมพันธ์กับสื่ออื่นๆ
·       ผิดพลาดน้อย
·       ถ้าปราศจากการออกแบบที่ดีก็จะก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย
·       หนึ่งร้อยชั่วโมงที่ใช้ในการออกแบบผลิตงานได้เพียงหนึ่งชั่วโมง
·       เสียค่าใช้จ่ายสูง ทักษะที่จะใช้คีย์บอร์ดนักเรียนต้องพัฒนาเอง
·       ไม่ได้เหมาะกับนักเรียนทุกคน
โสตทัศนะ
1. ฟิล์ม/วีดิโอ (Film/Video)
·       สามารถแสดงพัฒนาการของวิธีการหรือการปฏิบัติ
·       ผสมผสานทัศนะคำพูดและเสียงอื่นเข้าด้วยกัน
·       เปลี่ยนเวลาได้
·       สนุกสนาน
·       จูงใจ
·       นักเรียนไม่มีส่วนร่วม
·       แพง
·       โดยทั่วไปสร้างขึ้นจากจุดประสงค์ของคนอื่น
สิ่งที่รับรู้ด้วยการสัมผัส (Tactile)
1. ตัวจำลองสถานการณ์ (Simulator)
·       อนุญาตสำหรับผู้มีทักษะของความเป็นจริง
·       ใช้สำหรับการสาธิต
·       ประโยชน์คุ้มค่า
·       แก้ไขวิธีการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง
·       ยอมให้มีการวิเคราะห์
·       ยอมให้นักเรียนมีส่วนร่วม
·       จำกัดโปรแกรม
·       ต้องการคนที่มีทักษะความสามารถสูง
·       ต้องการการนิเทศอย่างใกล้ชิด
2. อินเตอร์แอคทิฟวีดิโอคอมพิวเตอร์ (Interactive Video/Computer)
·       เหมือนกับ CAI
·       แบบจำลองทัศนะ/การสาธิต
·       จูงใจ
·       ยากที่จะสร้างกิ่งก้านสาขา
·       กรอกกลับช้า
3. อินเตอร์แอคทิฟดิซค (Interactive Video disc)
·       เหมือนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
·       แบบจำลองทางทัศนะ/การสาธิต
·       คุณภาพในการแก้ปัญหาสูง
·       มีจำนวนมาก
·       ราคาสูง
·       ค่าบำรุงรักษาสูง
4. ดิจิทัล วีดิโอ เทคโนโลยี
[ Digital Video Technology (DVT) ]

·       การฝึกอบรม (สื่อผสม) (multimedia)
·       บันทึก/เล่นป้อนกลับ/บรรณาธิการให้การเคลื่อนไหวที่เป็นจริงเป็นจินตนาการของนักคอมพิวเตอร์
·       ผู้พัฒนาการเรียนการสอนควบคุมส่วนประกอบของสื่อผสมที่เป็นของรายวิชาให้ทันสมัย เก็บสะสมไว้ในคอมพิวเตอร์
·       ยอมให้ผู้เรียนพัฒนาการฝึกหัดเกี่ยวกับอินเตอร์แอคทิฟ วีดิโอ (interactive video)
·       ไม่จำกัดสาขา
·       เสียงในฟิล์มจำกัดโดยไฟล์ที่สะสมไว้
·       วีดิโอ (V.D.O.) ที่แสดงการเคลื่อนไหวยังคงเป็นตำราในการจินตนาการ
·       โสตกราฟิกที่สะสมไว้ในดิจิตอล (digital)
·       ข้อถกเถียงเกี่ยวกับการออกแบบมีความซับซ้อน
·       ต้องการบุคลากรที่พัฒนาทักษะ ในหลายสาขา
5. ดีวีที (DVT) เป็นเครื่องหมายการค้า วีดิโอดิซ (video disc)
·       ใช้ไฟล์จาก Hard disk หรือ CD-ROM
·       CD-ROM มีค่าใช้จ่ายในการผลิตถูกกว่า


ตารางที่ 17 ประเภทและคุณสมบัติของสื่อการเรียนการสอน
วัสดุอุปกรณ์
ข้อดี
ข้อเสีย
1. สิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น หนังสือตำราเรียนคู่มือ ฯลฯ
·       เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง
·       สามารถอ่านได้ตามอัตราความสามารถของแต่ละบุคคล
·       เหมาะสำหรับอ้างอิงหรือทบทวน
·       เหมาะสำหรับการผลิตเป็นจำนวนมากสะดวกในการแก้ไขปรับปรุงเนื้อหาใหม่
·       ถ้าจะให้ได้สิ่งพิมพ์คุณภาพดีจำเป็นต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูง
·       บางครั้งต้องพิมพ์ใหม่เพื่อปรับปรุงข้อมูลที่ล้าสมัย
·       ผู้ไม่รู้หนังสือมาสามารถอ่านเข้าใจได้
2. ของจริง ของตัวอย่าง
·       แสดงสภาพได้ตามความเป็นจริง
·       เป็นลักษณะ 3 มิติ
·       สัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า
·       สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียดได้
·       ปกติเหมาะสำหรับการเสนอต่อกลุ่มย่อย
·       อาจเสียหายได้ง่าย
·       เก็บรักษาลำบาก
·       บางครั้งอาจจะลำบากในการจัดหา
·       ของบางสิ่งอาจมีขนาดใหญ่เกินกว่าจะนำมาแสดงได้
·       บางครั้งของนั้นอาจมีราคาสูงเกินไป

3. ของจำลองหุ่นจำลองขนาดเท่าหรือขยายของจริงมองด้วยตาเปล่า (เช่น ลักษณะของอวัยวะภายในร่างกาย)
·       เป็นลักษณะ 3 มิติ
·       สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียดได้
·       ชำรุดเสียหายได้ง่าย
·       สามารถแสดงหน้าที่และลักษณะส่วนประกอบ
·       ช่วยในการเรียนรู้และการปฏิบัติทักษะชนิดต่างๆ
·       หุ่นบางอย่างสามารถผลิตได้ด้วยวัสดุหรือวัสดุท้องถิ่นที่หาได้ง่าย
·       ต้องอาศัยความชำนาญในการผลิต
·       ส่วนมากราคาจะแพง
·       ปกติเหมาะสำหรับการแสดงต่อกลุ่มย่อย
·       ถ้าทำได้ไม่เหมือนของจริงทุกประการบางครั้งอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้
4. วัสดุกราฟิก เช่น แผนภูมิ แผนภาพโปสเตอร์ ภาพถ่าย ภาพเขียน การ์ตูน
·       ช่วยแสดงลำดับขั้นตอนของเนื้อหา
·       สามารถจัดหาได้ง่ายและสามารถผลิตได้จำนวนมาก
·       เก็บรักษาได้ง่ายด้วยวิธีผลึกภาพ
·       เหมาะสำหรับการเรียนในกลุ่มเล็ก
·       งานกราฟิกที่มีคุณภาพดีจำเป็นต้องใช้ช่างเทคนิคที่มีความชำนาญในการผลิต
·       การใช้ภาพบางประเภท เช่น ภาพ
·       การใช้ภาพบาประเภท เช่น ภาพตัดส่วน (sectional drawings) หรือการ์ตูนอาจไม่ช่วยให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความเข้าใจดีขึ้น เพราะไม่สามารถสัมพันธ์กับของจริงได้
5. กระดานดำ กระดานขาว
·       ต้นทุนในการผลิตต่ำ
·       สามารถเขียนรายงานกราฟฟิกได้หลายชนิด
·       ช่วยในการสร้างความเข้าใจตามลำดับ เรื่องราวเนื้อหา
·       ผู้สอนต้องทันหลังให้กลุ่มผู้เรียน เมื่อเขียนกระดานทำให้ไม่สามารถควบคุมชั้นเรียนได้ดี
·       สามารถอ่านข้อความบนกระดานได้ไม่ไกลมากนัก ทำให้กลุ่มผู้เรียนมีจำนวนจำกัด
·       ภาพ หัวข้อ หรือประเด็นคำบรรยายต้องถูกลบ ไม่สามารถนำมาใช้ได้อีก
·       ผู้สอนต้องมีความสามารถในการเขียนกระดานพอสมควร
6. กระดานผ้าสำลีและกระดานแม่เหล็ก
·       สามารถนำมาใช้ได้อีก
·       วัสดุในการผลิตหาง่ายและสามารถผลิตได้เอง
·       เหมาะสำหรับแสดงความเกี่ยวพันของลำดับเนื้อหาเป็นขั้นตอน
·       ช่วยดึงดูดความสนใจ
·       สามารถให้กลุ่มผู้เรียนร่วมใช้เพื่อสร้างความสนใจและทดสอบความเข้าใจ
·       ไม่เหมาะสำหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่
7. การศึกษานอกสถานที่
·       ผู้เรียนสามารถสังเกตการณ์และมีส่วนร่วมได้ด้วยตนเอง
·       เปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมทำงานเป็นกลุ่มและสร้างสรรค์ความรับผิดร่วมกัน
·       สามารถจูงใจเป็นรายบุคลได้ดี
·       เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
·       จัดเฉพาะผู้เรียนกลุ่มย่อย
·       ต้องเตรียมการและวางแผน โดยละเอียดรอบคอบ

สื่อการสอนประเภทใช้เครื่องฉาย
1. ประเภทเสนอภาพนิ่ง
1.1 เครื่องภาพทึบแสง
·       สามารถขยายภาพถ่าย ภาพเขียน วัสดุทึบแสง ให้เป็นภาพที่มองดูมีขนาดใหญ่ได้
·       เหมาะสำหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่
·       ช่วยลดภาระในการผลิตสไลด์และแผ่นโปร่งใส
·       ต้องใช้เครื่องในห้องที่มืดสนิทจึงจะเห็นภาพขยายได้ชัดเจน
·       เครื่องมือขนาดใหญ่ทำให้ขนย้ายลำบาก

1.2 แผ่นโปร่งใส
·       สามารถใช้ได้ที่ที่มีแสงสว่าง
·       ผู้สอนหน้าเข้าหาผู้เรียนได้
·       ผู้สอนสามารถเตรียมแผ่นโปร่งใสไว้ใช้ล่วงหน้าหรือสามารถเขียนลงไปพร้อมทำการบรรยายเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ
·       ถ้าจะผลิตแผ่นโปร่งใสที่มีลักษณะพิเศษต้องลงทุนสูง
·       ผู้เรียนไม่มีบทบาทร่วมในการใช้อุปกรณ์
1.3 สไลด์
·       เหมาะสำหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่และกลุ่มเล็ก
·       ผลิตค่อนข้างง่ายและและทำสำเนาได้ง่ายเช่นกัน
·       สามารถเปลี่ยนสลับรูปในการสอนได้ตามต้องการ
·       สามารถปรับเปลี่ยนรูปที่ไม่ทันสมัยหรือเพิ่มภาพตามความต้องการของเนื้อเรื่อง
·       ใช้สะดวก เก็บรักษาง่าย
·       ใช้ประกอบกับเครื่องบันทึกเสียงในการผสมสัญญาณเสียงและภาพ
·       สามารถใช้ได้เครื่องฉายที่ใช้ไฟฟ้าและแบตเตอรี่
·       ต้องฉายในห้องที่มืดพอสมควรยกเว้นจะมีจอ Daylight Screen
·       การถ่ายทำชุดสไลด์ที่ดีต้องมีการวางแผนทำบทสคริปการถ่ายทำและการจัดภาพเป็นชุด
1.4 ฟิล์มสคริป
·       เหมาะสำหรับการเรียนเป็นกลุ่มเล็กหรือรายบุคคล ใช้ภาพกับเรื่องอื่นๆได้
·       ผลิตเองได้ง่าย
·       สะดวกในการใช้และเก็บรักษา
·       ไม่สามารถตัดต่อสลับ
·       ริมหนามเตยชำรุดได้ง่าย

1.5 ไมโครฟิล์มไมโครฟิช
·       สะดวกในการเก็บรักษา
·       สามารถจำแนกประเภทได้ง่าย
·       เหมาะสำหรับการเก็บรักษาข้อมูลสิ่งพิมพ์เพราะมีขนาดเล็ก
·       ขนาดเล็กหยิบใช้ได้สะดวก
·       ไม่สมารถอ่านข้อความได้ด้วยตาเปล่าต้องใช้เครื่องอ่านที่มีคุณภาพ
·       เครื่องอ่านใช้อ่านคนเดียว มีราคาไม่สูงมากนัก
·       เครื่องอ่านสำหรับฉายให้กลุ่มใหญ่จะราคาแพง
2. ประเภทเสนอภาพเคลื่อนไหว
2.1 ภาพยนตร์ (8 และ 16 มม.)
·       ให้ภาพที่ดูแล้วเสมือนมีการเคลื่อนไหวของสิ่งของและให้เสียงประกอบซึ่งทั้งภาพและเสียงมีลักษณะใกล้เคียงความจริงมาก
·       เหมาะสำหรับการสอนกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย
·       ภาพยนตร์ 8 มม. เหมาะสำหรับการเรียนรายบุคคล
·       เหมาะสำหรับให้ความรู้ แต่ผู้สอนจะต้องอธิบายบางสิ่งในภาพยนตร์ก่อนทำการฉายหรือเมื่อฉายจบแล้วควรมีการซักถามปัญหาหรือภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปเรื่อง
·       ต้นทุนในการผลิตสูงมากและกรรมวิธีในการผลิตยุ่งยาก
·       หากผลิตฟิล์มจำนวนน้อยม้วนจะทำให้ต้นทุนในการผลิตสูงกว่าเดิมมากต้องใช้ไฟฟ้าในการฉาย
·       ลำบากในการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์
·       ต้องฉายในที่มืด
·       หากใช้ภาพยนตร์ต่างประเทศอาจจะไม่ตรงต่อความต้องการของผู้ใช้จริงๆ หรือผู้ชมอาจไม่เข้าใจเนื้อเรื่องได้เท่าที่ควร
2.2 โทรทัศน์
·       สามารถใช้ได้กับผู้เรียนหรือผู้ชม ไม่จำกัดจำนวนและสามารถถ่ายทอดไปได้ระยะไกลๆ
·       ช่วยดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
·       เหมาะสำหรับใช้ในการจูงใจสร้างทัศนคติและเสนอปัญหาให้ผู้เรียนคิดหรือเสริมสร้างการอภิปรายร่วมกัน
·       ช่วยลดภาระของผู้สอน คือแทนที่จะต้องบรรยายหลายครั้ง หรือหลายแห่งในหัวข้อเดียวกันต่อผู้เรียนหลายกลุ่มก็ใช้ในการถ่ายทอดไปยังที่ต่างๆ ได้ในเวลาเดียวกัน
·       การจัดรายการที่ดีต้องใช้ต้นทุนสูงมากและต้องใช้ช่างเทคนิคในการผลิตรายการ
·       ต้องใช้ไฟฟ้า
·       เป็นการสื่อสารทางเดียวทำให้ผู้เรียนไม่สามารถถามข้อสงสัยได้ทันทีและผู้สอนไม่สามารถทราบการตอบสนองของผู้เรียนได้
·       รายการที่เสนออาจไม่ตรองกันตารางสอนหรือบทเรียน
2.3 โทรทัศน์วงจร
·       สามารถใช้กับผู้เรียนกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่
·       ใช้ถ่ายทอดเหตุการณ์หรือการสอนที่ผู้เรียน/ผู้ชมไม่สามารถร่วมกันอยู่ในบริเวณที่เรียนที่ชมพร้อมกัน
·       สามารถใช้ร่วมกับวีดิทัศน์ในการส่งภาพได้
·       รับภาพโยเฉพาะบริเวณที่กำหนดไว้เท่านั้น
2.4 วีดิทัศน์
·       สามารถใช้ใช้กับผู้เรียนกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่
·       สามารถฉายซ้ำเมื่อผู้เรียนไม่เข้าใจหรือผู้ทบทวน
·       แสดงการเคลื่อนไหวของภาพประกอบเสียงที่ให้ความรู้สึกที่ใกล้เคียงของจริงมากมีขนาดเล็กอ่อนมาก
·       ต้นทุนอุปกรณ์และการผลิตสูงต้องใช้ช่างเทคนิคในการผลิต/จัดรายการ
·       ตัวอักษรที่ปรากฏในจอโทรทัศน์
·       ม้วนเทปเสื่อมสภาพได้ง่าย
3. สื่อการสอนประเภทเครื่องเสียง
3.1 วิทยุหรือรายบุคคล
·       สามารถใช้ใช้กับผู้เรียนกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่
·       ระยะกระจายเสียงกว้างและถ่ายทอดระยะไกลๆ
·       ลดภาระของผู้สอนหรือผู้บรรยายในการเดินทางไปสอนในที่ต่างๆ
·       ดึงดูดความสนใจได้ดี
·       เครื่องรับวิทยุราคาถูกและสามารใช้กับแบตเตอรี่ได้
·       สามารถสามารใช้กับสื่ออื่นๆ เช่น สิ่งพิมพ์เพื่อประกอบการเรียน
·       ต้องใช้ห้องที่ทำขึ้นเฉพาเพื่อการกระจายเสียง
·       ผู้ฟังหรือผู้เรียนต้องปรับตัวเข้าหารายการ เนื่องจากผู้บรรยายไม่สามารถปรับตัวเข้าหาผู้ฟังได้
·       เป็นการสื่อสารทางเดียวที่ทำให้ผู้บรรยายไม่สามารถทราบปฏิกิริยาสนองกลับของผู้ฟัง
3.2 เทปบันทึกเสียง
·       สามารถใช้ได้โดยไม่จำกัดขนาดและจำนวนผู้เรียน
·       เหมาะสำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองหรือกับกลุ่มย่อย
·       การเปิด/ปิด/เดินหน้า/ย้อนกลับสามารถทำได้โดยสะดวก
·       อุปกรณ์ราคาถูกและสามารถใช้กับแบตเตอรี่ได้
·       ใช้ได้หลายกรณี เช่น ใช้ประกอบสไลด์ ใช้บันทึก
·       เสียงที่ไม่สามารถฟังได้ทั่วถึง เช่น การเต้นของหัวใจ
·       การบันทึกเสียงที่คุณภาพดีจำเป็นต้องใช้ห้องละอุปกรณ์ที่ดีมีคุณภาพสูง
·       ต้องมีความชำนาญพอสมควรในการตัดต่อเทป
·       ต้องระมัดระวังในการเก็บรักษา
3.3 แผ่นซีดี
·       บันทึกเสียงในประเภทต่างๆ ในระบบ ดีจิทัลที่ให้ความชัดมาก
·       ไม่มีการพลั้งเผลอลบเสียงที่บันทึกไว้แล้วและไม่พรั่นจ่อสนามแม่เหล็ก
·       เรียกค้นข้อมูลเสียงได้รวดเร็ว
·       มีอายุการใช้งานนานและยากแก่การบุบสลาย
·       ขนาดเล็กกะทัดรัดเหมาะแก่การพกพา
·       ไม่สามารถบันทึกทับได้
·       โดยทั่วไปแล้วผู้ใช้ไม่สามารถบันทึกเสียงเองได้ต้องมีการบันทึกเสียงมาจากโรงงานผู้ผลิต
·       ต้นทุนการผลิตสูงกว่าการบันทึกลงเทปเสียงแต่ผลิตเป็นจำนวนมากจะลดต้นทุนได้มาก
·       เครื่องเล่นมีราคาสูงกว่าเครื่องเล่นเทปเสียง
4. สื่อเชิงโต้ตอบ (Interaction Media)
4.1 ด้านวัสดุอุปกรณ์
4.1.1 คอมพิวเตอร์
·       ใช้งานได้หลายประเภท เช่น การคำนวณจัดเก็บฐานข้อมูล การจัดหน้า สิ่งพิมพ์ ฯลฯ
·       ใช้แก้ปัญหาต่างๆ ที่ซับซ้อนได้
·       เสนอข้อมูลได้หลายประเภททั้งตัวอักษรภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวและเสียง
·       มีการโต้ตอบของผู้เรียนเพื่อให้ผลป้อนกลับด้วยความรวดเร็ว
·       สามารถบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในหน่วยความจำของเครื่องหรือในวัสดุบันทึกอื่น เช่น จานบันทึกและเทปแม่เหล็กได้
·       ใช้ร่วมกับโมเด็มเพื่อใช้ในอินเทอร์เน็ตเพื่อการสื่อสารข้อมูลกับฐานข้อมูลอื่นๆ ได้ทั่วโลก
·       เครื่องกระเป๋าหิ้วขนาดเล็กเหมาะแก่การพกพาไปใช้ในที่ต่างๆ ได้
·       มีราคาสูงพอสมควร
·       ต้องมีการบำรุงรักษาตามระยะเวลา
·       ต้องใช้โปรแกรมซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ จึงจะใช้งานได้
·       มีการเปลี่ยนแปลงตามอุปกรณ์ เช่น ความเร็วในการทำงานของการ์ดประเภทต่างๆ จนทำให้เครื่องที่มีอยู่ล้าสมัยได้เร็ว
4.1.2 บทเรียนการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (CAI)
·       ผู้เรียนสามารถมีการโต้ตอบกับบทเรียนได้
·       สามารถป้อนกลับแก่ผู้เรียนได้ทันที
·       มีรูปแบบบทเรียนเลือกใช้มากมาย เช่น การสอนทบทวน เกม การจำลอง ฯลฯ
·       เสนอบทเรียนได้ทั้งลักษณะตัวอักษรภาพและเสียง
·       ผู้เรียนสามารถทบมวนเนื้อหาบทเรียนและทำกิจกรรมได้ตามความสามารถของตนในลักษณะการศึกษารายบุคคล
·       ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการเรียนโปรแกรมบทเรียน
·       โปรแกรมซอฟต์แวร์ บางประเภทมีราคาสูงพอสมควร
4.1.3 ซีดี-รอม
·       สามารถบันทึกข้อมูลได้มากถึง 680 เมกะไบต์
·       บันทึกข้อมูลได้ทั้งตัวอักษรภาพนิ่งภาพกราฟิก เคลื่อนไหวภาพ วีดีทัศน์ และเสียง
·       เรียกค้นข้อมูลได้รวดเร็วและถูกต้อง
·       มีอายุใช้งานนานและยากแก่การบุบสลาย
·       ขนาดเล็กกะทัดรัดเหมาะแก่การพกพา
·       ไม่สามารถบันทึกข้อมูลเดิมได้
·       ปกติแล้ว ผู้ใช่ไม่สามารถบันทึกข้อมูลเองได้ ต้องมีการบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิต
·       ต้นทุนการผลิตสูง แต่ถ้าผลิตเป็นจำนวนมากจะลดต้นทุนได้มาก
·       ต้องใช้เล่นร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์
4.1.4 แผ่นวีดิทัศน์ (Videodisc/Laserdisc)
·       บันทึกข้อมูลในลักษณะตัวอักษรภาพนิ่งภาพกราฟิกเคลื่อนไหว
·       แบ่งเป็นสองชนิด บันทึกข้อมูลได้ทั้งแบบหน้าละ 30 นาทีและ 1 ชั่วโมง
·       ดูภาพนิ่งได้ทีละภาพด้วยความคมชัดหรือจูภาพหรือภาพเร็วก็ได้เช่นกัน
·       เล่นเดินหน้าหรือย้อนกลับได้ด้วยความรวดเร็ว
·       ค้นหาเนื้อเรื่องเป็นตอนหรือตามเวลาของการเล่นได้
·       มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 นิ้ว จึงมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะในการพกพา
·       ผู้ใช้ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้เอง ต้องบันทึกมาจากโรงงานเท่านั้น
4.2 ด้านเทคนิควิธีการ
4.2.1 สื่อหลายมิติ (Hypermedia)
·       เสนอข้อมูลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรงทำให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลในที่ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
·       เนื้อหาบทเรียนที่มีทั้งภาพนิ่งภาพกราฟิกเคลื่อนไหว ภาพวีดีทัศน์เสียงพูดเสียงดนตรี
·       ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับบทเรียนและได้รับผลป้อนกลับทันที
·       สะดวกในการใช้
·       ต้องใช้โปรแกรมซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูงในการผลิตบทเรียน
·       ต้องอาศัยเชี่ยวชาญในการสร้างบทเรียน
·       ต้องใช้รวมกับคอมพิวเตอร์ที่คุณภาพสูงพอควรจึงจะใช้ได้ดี
·       การผลิตบทเรียนลักษณะนี้ต้องอาศัยอุปกรณ์ร่วมหลายอย่างเช่นเครื่องเสียง กล้อง วีดีทัศน์ เครื่องเล่น แผ่น วีดีทัศน์ฯลฯ
4.2.2 แผ่นวีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interaction Video, Interaction Videodisc)
·       ใช้ได้กับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อยและการศึกษารายบุคคล
·       เสนอข้อมูลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรง
·       การเสนอเนื้อหามีทั้งภาพนิ่ง วีดีทัศน์และเสียง
·       ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับบทเรียนและได้รับผลป้อนกลับทันที
·       บันทึกผลการเรียนและการตอบสนองของผู้เรียนได้
·       ต้องใช้อุปกรณ์ร่วมในการทำงานหลายอย่าง
·       ต้องเลือกเนื้อหาในแผ่นวีดีทัศน์มาประกอบบทเรียนให้เหมาะสม ซึ่งครั้งอาจหาได้ไม่ตรงนัก
·       อุปกรณ์ต่าง ๆ มีราคาสูง จึงทำให้การเรียนแบบนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้กันมากนัก
4.2.3 อินเทอร์เน็ต
·       ค้นคว้าข้อมูลได้ทุกมุมโลกอย่างรวดเร็ว
·       ติดตามข่าวสารความรู้และความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
·       สนทนากับผู้ที่ห่างไกลได้ทั้งลักษณะข้อความและเสียง
·       ร่วมกลุ่มอภิปรายกับผู้อื่นที่สนใจเรื่องเดียวกันเพื่อขยายวิสัยทัศน์
·       รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบข้อความภาพ และเสียงได้อย่างรวดเร็วในราคาย่อมเยา
·       ถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลในที่ต่าง ๆ ได้
·       ติดประกาศข้อความเพื่อหาผู้ที่สนใจในเรื่องเดียวกัน
·       ข้อมูลที่ได้อาจไม่ถูกต้องเนื่องจากไม่มีผู้ใดรองรับ
·       ต้องมีการศึกษาการใช้งานเพื่อการสืบค้นข้อมูล
·       นักเรียนและเยาวชนอาจเข้าไปดูในเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม
4.2.4 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
·       ช่วยจัดปัญหาในเรื่องของเวลาและระยะทางในการเรียน
·       ผู้เรียนที่ไม่กล้าแสดงออกในชั้นเรียนจะได้รู้สึกอิสระในการแสดงความคิดเห็น
·       เสริมบรรยากาศในการเรียนรู้เพื่อเปิดโอกาสให้การถามขัดข้องใจเป็นการส่วนตัว
·       ผู้เรียนสามารถติดต่อกัน ในการแบ่งปันข้อมูลและปรึกษาร่วมกันได้ การพิมพ์และเรียบเรียงเนื้อหา จึงจะทำให้การอภิปรายราบรื่น
·       เป็นการสื่อสารที่ผู้สื่อสารไม่สามารถแสดงความรู้สึกต่อกันได้ทำให้ขาดความเป็นธรรมชาติ
·       อาจเกิดความสับสนในการอภิปรายเนื่องจากอภิปรายในเวลาที่ไม่ต่อเนื่องกัน
4.2.5 การสอนในเว็บเป็นฐานการสอนบทเว็บ
·       ขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ผู้เรียนรอบโลกทำให้ไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทาง
·       การเรียนด้วยการสื่อสารหลายรูปแบบทำให้ผู้เรียนรู้จักการสื่อสารทางสังคม ทำให้การเรียนมีชีวิตชีวายิ่งขึ้น
·       การเรียนด้วยสื่อหลายมิติ ทำให้เลือกเรียนเนื้อหาได้ตามสะดวกโดยไม่ต้องเรียงลำดับกัน
·       มีหลักสูตรให้เลือกเรียนมาก
·       ผู้สอนและผู้เรียนอาจไม่พบหน้ากันเลยอาจทำให้ผู้เรียนบางคนอึดอัดและไม่สะดวกในการเรียน
·       ผู้สอนต้องใช้เวลาเตรียมการสอนมาก
·       การตอบปัญหาในบางครั้ง อาจไม่เกิดขึ้นในทันทีทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจอย่างท่องแท้ได้
·       ผู้เรียนต้องรู้จักควบคุมการเรียนของตนเองจึงจะประสบความสำเร็จในการเรียนได้

           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น